ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซค์

 

เงื่อนไขจำเป็นและเพียงพอ , เมื่อ

(Necessary  and  Sufficient  Conditions,  Only  lf)

นิยามของเงื่อนไขจำเป็นและเพียงพอ  และ   เพียงแต่ว่า  สามารถที่จะนำมาขยายใช้

กับประพจน์เงื่อนไขเอกภพสัมพัทธ์ได้  คือ    

นิยาม

1.             x r(x) is sufficient  condition  for(x)หมายความว่า x, if r(x) then s(x)

2.             x r(x) is necessary  condition  for(x)หมายความว่า x, if  ~ r(x) then ~ s(x)                    ซึ่งสมมูลกับ x, if r(x) then s(x)

3.             x,  r(x) only if s(x) หมายความว่า x, if  ~ r(x) then ~ s(x)     

ซึ่งสมมูลกับ x, if r(x) then s(x)

ตัวอย่าง   เงื่อนไขจำเป็นและเพียงพอ  (Necessary  and  sufficient  condition) 

จงเขียนประพจน์ต่อไปนี้ใหม่ในรูปประพจน์เงื่อนไขบ่งประมาณ  โดยไม่ใช้คำ จำเป็น

และ    เพียงพอ

               -- การเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส  มีเงื่อนไขเพียงพอที่จะเป็นสี่เหลี่ยมมุมฉาก

   -- การมีอายุถึง  35 ปี  เป็นเงื่อนไขจำเป็นที่มีสิทธิ์เป็นรัฐมนตรี                                                         

วิธีทำ  x, ถ้า x เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส แล้ว x เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า

 หรือ ในภาษาพูด ถ้ารูปเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส แล้วมันเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า

    ประชาชน x, ถ้า x อายุน้อยกว่า 35 ปี แล้ว x ไม่มีสิทธิ์เป็นรัฐมนตรี

  หรือ เขียนในรูป การแย้งสลับที่(contrapositive)ซึงสมมูลกับประพจน์ดังกล่าว

  คือ   ประชาชน x, ถ้า x เป็นรัฐมนตรี แล้วแสดงว่า x มีอายุอย่างน้อย 35 ปี

ตัวอย่าง  เมือ (Only  lf)

จงเขียนประพจน์ต่อไปนี้ใหม่ให้อยู่นรูปประพจน์บ่งชี้ประริมาณเอกภพสัมพัทธ์

ผลคูณของจำสองจำนวนเป็น  0  เมื่อจำนวนใดจำนวนหนึ่ง  0 ”

วิธีทำ  เขียนโดยใช้ภาษาอย่างไม่เป็นทางการ   เขียนเป็น

ถ้าจำนวนหนึ่งจำนวนใดจากจำนวนสองจำนวนมีค่าไม่เป็น 0  แล้วผลคูณของจำนวนนั้นไม่เป็น 0 ”

    หรือ  เขียนในรูป   การแย้งสลับที่      (contrapositive )  ซึ่งสมมูลประพจน์ดังกล่าว   คือ

  ถ้าผลคูณของจำนวนสองจำนวนเป็น  0  แล้วแสดงว่ามีจำนวนใดจำนวนหนึ่งเป็น  0 ”

การอ้างเหตุผลด้วยประพจน์บ่งชี้ประมาณ

(Arguments  with  Quantified   statements)

กฎความเป็นจริงของเอกภพสัมพันธ์    (universal   instantiation)    กล่าวว่า

ถ้าคุณสมบัติเป็นจริงสำหรับทุกๆสมาชิกในโดเมน   แล้วจะเป็นจริงสำหรับค่าเฉพาะค่าหนึ่ง

ซึ่งเป็นสมาชิกของโดเมน                                                                                                                                            การนำกฎ  ความเป็นจริงของเอกภพสัมพัทธ์   มาใช้ในการสรุปข้อเท็จจริง เราจะเริ่มด้วย

การบ่งชี้ว่า     คูณสมบัติของกรณีที่ยกมาอ้าง มีค่าความจริงเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตามด้ายการแทนค่า

เฉพาะค่าใดค่าหนึ่งเข้าไปเป็นตัวแทนตัวอย่าง ความสมเหตุสมผล ( validity)

ที่นิยมอ้างเพื่ออธิบายกฎความเป็นจริงของเอกภพสัมพัทธ์  คือ

-มนุษย์ทุกคนมีความเป็นอมตะ

-โซเครติส    เป็นมนุษย์

โซเครติส   มีความเป็นอมตะ

 

กฎความเป็นจริงของเอกภพสัมพัทธ์    เป็นหลักพื้นฐานในการใช้เหตุผลเชิงนิรนัย (Deductverasoning)    สูตรคณิตศาสตร์   นิยาม   และทฤษฎีเป็นเหมือนต้นแบบ   ที่ใช้แล้วใช้อีก

อย่างกว้างขวางในสถานการณ์ต่างๆ

Home  กลับก่อนหน้านี้   หน้าถัดไป

Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  5,448
Today:  5
PageView/Month:  11

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com