ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซค์

 

เมื่อกำหนดเอกภพสัมพัทธ์ดังต่อไปนี้

u1 = {-1, 0, 2, 0.75, -10}

u2 = {3, -2, 7, 8.2}

u1 = {6, 15, 32}

วิธีทำ 1.  เมื่อกำหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น u1 เป็นประพจน์จริง

                เพราะในทุกๆค่าของ u1 น้อยกว่า 5 -1, 0, 2, 0.75, -10 < 5

     เมื่อกำหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น u2 เป็นประพจน์เท็จ

                เพราะมีอย่างน้อย 1 ค่า คือเมื่อ x =7 ทำให้ 7 < 5 เป็นเท็จ

    เมื่อกำหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น u3เป็นประพจน์เท็จ

                เพราะมีอย่างน้อย 1 ค่า คือเมื่อ x = 6 ทำให้ 6 < 5 เป็นเท็จ

 

วิธีทำ 2.  เมื่อกำหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น u1 เป็นประพจน์จริง

เพราะมีอย่างน้อย 1 ค่า คือเมื่อ x =-1 ทำให้ -1 < 5 เป็นจริง

                 เมื่อกำหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น u2 เป็นประพจน์จริง

เพราะมีอย่างน้อย 1 ค่า คือเมื่อ x =3 ทำให้ 3 < 5 เป็นจริง

   เมื่อกำหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น u3เป็นประพจน์เท็จ

เพราะ     

 

 

จะเห็นได้ว่าทุกค่าของ u3 ทำให้ x < 5 เป็นเท็จทั้งสิ้น

การหาค่าความจริงของประพจน์เงื่อนไขบ่งชี้ปริมาณ (the truth of universal conditional statements)

ตัวอย่าง  การเขียนประพจน์เงื่อนไขให้อยู่ในรูปของตัวบ่งชี้ปริมาณ

               

จงเขียนประโยคที่กำหนดให้ อยู่ในรูป

1.   ถ้าจำนวนนั้นเป็นจำนวนเต็ม แล้ว จำนวนนั้นจะเป็นเศษส่วน

2.  ทุก bytes จะมี 8 bits

3.   ไม่มีรถดับเพลิงสีเขียว

 

วิธีทำ   ประโยคที่กำหนดให้เขียนในรูป ประพจน์เงื่อนไขบ่งชี้ปริมาณ x, ถ้า p(x) แล้ว q(x) ได้ดังนี้

1. x, ถ้า x เป็นจำนวนเต็ม แล้ว x เป็นเศษส่วน

2. x, ถ้า x เป็นค่าของ bytes แล้ว x จะมี 8 bits

3.  x, ถ้า x เป็นรถดับเพลิงแล้ว x จะไม่เป็นสีเขียว

สำหรับประโยค 6.4.2 และ 6.4.3 เป็นประโยคที่ยอมรับกันว่า สามารถตัดสินได้ว่าจริงหรือเท็จ ถ้าสามารถแทนค่าได้ในโดเมนที่กำหนดให้ได้ ในการพิจารณาค่าความจริงของปริมารบ่งชี้   ที่เป็นประพจน์เงื่อนไข จะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เช่น  จำนวนจริง x, ถ้า x > 2 แล้ว   x2  >  4  จะเป็นจริงทุกกรณีสำหรับ x ที่เป็นจำนวนจริงใดๆ

ถ้าเรามาพิจารณา ค่าที่จะทำให้ x > 2 ที่เป็นเท็จดูบ้าง จากประโยค ถ้า 1 > 2 แล้ว 12 > 4 เป็นประพจน์จริงแม้ว่า 1 > 2 เป็นประพจน์เท็จ ซึ่งแสดงได้ดังนี้

ให้ p แทน            1 > 2

ให้ q แทน             12 > 4

 

จากประโยค ถ้า 1 > 2 แล้ว 12 > 4 จะแทนด้วย    

                                                                                           

ผลลัพธ์เท่ากับ 1

 

                กรณีที่ ประพจน์เหตุเป็นเท็จ แต่ ประพจน์ผลลัพธ์เป็นจริง เช่น ถ้า  -3 > 2 แล้ว (-3)2 > 4 เป็นประพจน์จริง

                ให้ p แทน             -3 > 2

                .ให้q แทน             (-3)2 > 4

จากประโยค ถ้า -3 > 2 แล้ว (-3)2 > 4 จะแทนด้วย  

                                                                                

    ผลลัพธ์เท่ากับ 1

สรุป ประพจน์แจ้งเหตุสู่ผล (if-then statement) ที่มีเหตุเป็นเท็จ จะเป็นจริงเสมอ ไม่ว่าผลจะเป็นจริงหรือเท็จก็ตาม

Home  กลับก่อนหน้านี้   หน้าถัดไป

Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  5,447
Today:  4
PageView/Month:  10

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com