ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซค์

 

ตัวบ่งปริมาณ( quantifiers ) :   

                การจะเปลี่ยนประโยคเปิดเป็นประพจน์ ทำได้โดยกำหนดค่าใดค่าหนึ่งให้กับตัวแปรทุกตัวในประโยคเปิด เช่น ในประโยคที่ 2 จากตัวอย่างข้างต้น แทน x ด้วย 35 และแทน y ด้วย 10 จะทำให้ประโยคเปิด “x + y 0” เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริง “เป็นจริง” หรืออีกวิธีการหนึ่ง โดยการกำหนดตัวบ่งชี้ปริมาณ ตัวบ่งชี้ปริมาณที่ใช้กันอย่างแพร่หลายคือ “ทั้งหมด ( all )” หรือ “บางส่วน (some)” ซึ่งจะทำให้เราพิจารณาได้ว่าประโยคนั้นเป็นจริงหรือเท็จ ผู้ที่นำเอาค่าบ่งชี้ปริมาณมาใช้ในตรรกสัญลักษณ์ (symbolic logic) คือ ชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นนักปรัชญา,นักตรรกวิทยา,วิศวกร ชื่อ charles sanders peirce (1839-1914) อ้างใน ( epp,1990,p.88 )

                  อ่านว่า สำหรับทุกๆค่า (for all) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายของทุกๆค่าที่อยู่ในเอกภพสัมพัทธ์ โดยทั่วไปใช้คำว่า  “ทั้งหมด (for all,for each,for any,for every)” เรียกว่า ปริมาณบ่งชี้เอกภพสัมพัทธ์ ( universal quantifier ) เช่น

 

 

ค่าความจริงของประพจน์บ่งปริมาณ (the truth of quantifier statements)

                ให้ q(x) เป็นประโยคเปิด และ d เป็นโดเมน (domain) ของ x ประโยคเอกภพสัมพัทธ์ (universal statement) เขียนเป็นประโยคในรูป  จะเป็นประพจน์จริงก็ต่อเมื่อ q(x) เป็นจริงสำหรับทุกค่าของ x ใน d และจะเป็นเท็จก็ต่อเมื่อ q (x) เป็นเท็จอย่างน้อย 1 ค่า ของ x ใน d  ค่าของ x ที่ทำให้ q(x) เป็นเท็จเรียกว่า ตัวแทนค่าตัวอย่าง  (counterexample) ของประโยคเอกภพสัมพัทธ์

ตัวอย่าง ค่าความจริงและค่าเท็จของประพจน์เอกภพสัมพัทธ์(truth and falsity of universal statements)

1. ให้ โดเมน d ประกอบด้วยจำนวน 1,2,3,4 และ 5 จงพิจารณาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้

 

2. ให้ e เป็นจำนวนจริง จงพิจารณาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้

วิธีทำ   1. ให้ โดเมน d ประกอบด้วยจำนวน 1,2,3,4 และ 5

                                สำหรับปริมาณบ่งชี้ปริมาณ  จะต้องแทนค่าทุกค่าในโดเมน d

แทนค่า  x=1     12 1                   จริง

                                x=2         22 1                  จริง

                                x=3         32 1                  จริง

                                x=4         42 1                  จริง

                                x=5         52 1                  จริง

   จึงเป็นประพจน์จริง เมื่อ d มีค่า 1,2,3,4 และ 5

 

2. ให้ e เป็นจำนวนจริง การหาค่าความจริงของ

                                โดเมน e คือจำนวนจริงทุกค่า ถ้าสามารถหาตัวแทนตัวอย่าง (counterexample) ที่แสดงว่าประพจน์เป็นเท็จเพียงหนึ่งคำ ก็สรุปได้ว่า   เป็นประพจน์เท็จ

                                เลือกตัวแทนค่า (counterexample) x = 0.5

                                                (0.5)2 = 0.25

                                                0.25  0.5

                                นั่นคือ  (0.5)2  0.5

                แสดงว่ามีอย่างน้อย 1 ค่าคือ x = 0.5 ที่ทำให้ประโยค    เป็นเท็จ

    เป็นเท็จเมื่อ e เป็นจำนวนจริง

 

 อ่านว่า มีอย่างน้อยหนึ่ง (there exists) เป็นสัญลักษณ์ที่มีอย่างน้อยหนึ่งค่าที่อยู่ในเอกภพสัมพัทธ์ โดยทั่วไปใช้คำว่า “บางค่า (some)” เช่น ประโยค “มีจำนวนเต็มบวก m และ n อย่างน้อยหนึ่งคู่ ที่ทำให้ m+n =m  n” แทนประโยคสัญลักษณ์ได้เป็น “ integers m and n such that m+n=m n”ซึ่งสามารถจะบ่งชี้ ค่าความจริงของประพจน์ได้เมื่อ แทนค่า m และ n ด้วยเอกภพสัมพัทธ์ที่กำหนดให้ สัญลักษณ์    เรียกว่า ตัวบ่งปริมาณสำหรับตัวมีจริง (existential quantifier)

                ให้q(x) เป็นประโยคเปิด d เป็นโดเมนของ x ประพจน์ปริมาณบ่งชี้อย่างน้อย เขียนแทนด้วยรูป x in d such that q(x) จะเป็นก็ต่อเมื่อ q(x) เป็นจริงอย่างน้อย 1 ค่า x ใน d และเป็นเท็จก็ต่อเมื่อ q(x) เป็นเท็จสำหรับทุกๆค่า x ที่อยู่ในd

ตัวอย่าง ค่าความจริงและเท็จของประพจน์บ่งปริมาณสำหรับตัวมีจริง(truth and falsity of existential statements)

1. ให้ d เป็นโดเมนของจำนวนเต็ม ( ทุกตัว ) จงพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่ว่า   m in d such that m2 =m

2. ให้ e ประกอบด้วยจำนวนเต็มที่มีค่าตั้งแต่ 5 ถึง 10 และจงพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่ว่า m in e such that m2 =m

วิธีทำ 1. ให้ d เป็นโดเมนของจำนวนเต็ม ( ทุกตัว ) จงพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่ว่า   m in d such that m2 =m

                การหาค่าความจริงสำหรับปริมาณบ่งชี้มีอย่างน้อยหนึ่ง ถ้าสามารถหาตัวแทนค่าตัวอย่างในโดเมน d ซึ่งเป็นจำนวนจริงมาแทนในประโยคที่กำหนดให้เพียงหนึ่งค่า ทำให้ประพจน์เป็นจริง ก็สามารถสรุปได้ว่าประพจน์นั้นเป็นประพจน์จริง

                จาก         m in d such that m2 =m

                แทนค่า m ด้วย 1                 (1)2 =  1               เป็นจริง

                  m in d such that m2 =m         เป็นประพจน์จริง

2. ให้ e ประกอบด้วยจำนวนเต็มที่มีค่าตั้งแต่ 5 ถึง 10 และจงพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่ว่า m in e such that m2 =m

จาก         m in e such that                              m2 =m

แทนค่า                  m=5                      52 = 25      ดังนั้น              52 5                    เป็นเท็จ

m=6                       /62 = 36                     ดังนั้น              62 6    …….เป็นเท็จ

m=7                       72 = 49      ดังนั้น              72 7    …….เป็นเท็จ

m=8                       82 = 64      ดังนั้น              82 8    ......เป็นเท็จ

m=9                       92 = 81       ดังนั้น            92 9    .......เป็นเท็จ

m=10                     102 = 100   ดังนั้น             102 10.......เป็นเท็จ

จะเห็นได้ว่าไม่มีค่าใดเลยในโดเมน e ที่ทำให้ m2 = m เป็นจริง

            m in e such that  m2 =m     เป็นประพจน์เท็จ

 

ตัวอย่างที่  กำหนดให้ q(x) แทน x < 5 จงหาค่าความจริงของประพจน์

                1.

                2.

Home  กลับก่อนหน้านี้     หน้าถัดไป

Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  5,451
Today:  8
PageView/Month:  14

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com